5 ขั้นตอนง่ายๆ ในการเตรียมตัวขอสินเชื่อ

แหล่งเงินทุนที่บริษัทมักนึกถึงเมื่อต้องการเงินทุน ไม่ว่าจะเอาไปใช้เพื่อขยายธุรกิจ หรือใช้ในยามฉุกเฉิน น่าจะหนี้ไม่พ้นธนาคารพาณิชย์ การเตรียมตัวล่วงหน้าจะทำให้เรามีความพร้อมเมื่อถึงเวลาที่เราต้องใช้เงินก้อนนั้น บทความนี้จะแนะนำขั้นตอนเตรียมตัวเพื่อเป็นฐานที่ดีที่จะช่วยให้ขั้นตอนการสมัครรวดเร็ว และง่ายขึ้น

1. จัดทำงบการเงิน

ธนาคารจะใช้งบการเงินในการพิจารณา อนุมัติสินเชื่อ ดังนั้นบริษัทจำเป็นจะต้องจัดเตรียมงบการเงินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ข้อมูลเหล่านี้บ่งบอกถึงความสามารถในการบริหาร และแนวโน้มการเติบโตของธุรกิจ งบการเงินหลักคือ งบดุล, งบกำไรขาดทุน, งบกระแสเงินสด อ่านต่อ : ทำความรู้จัก งบกระแสเงินสด ตัวชี้วัดสำคัญสุขภาพธุรกิจ 

2. ดูแลเครดิตของบริษัท

ข้อมูลเครดิต (Credit information) คือ ข้อมูลและประวัติพฤติกรรมการผ่อนชำระสินเชื่อ (Credit history) ที่ถูกเก็บบันทึกโดย บริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด หรือ ที่เราเรียกกันสั้นๆ ว่าเครดิตบูโร หรือ NCB (National Credit Bureau) 

หากบริษัทมีประวัติการชำระหนี้ไม่ตรงเวลา ไม่เต็มจำนวน จนก่อให้เกิดยอดค้างชำระ หรือมีการปล่อยยอดคงค้างไว้เป็นเวลานาน บริษัทควรเจรจาทำการบริหารการชำระหนี้ที่ค้างอยู่ให้เสร็จสิ้นเพื่อสร้างประวัติเครดิตใหม่ และชำระหนี้ให้ตรงต่อเวลา ไม่ผิดนัดชำระหนี้อีก เพราะทุกความเคลื่อนไหวในการชำระหนี้จะถูกจัดเก็บรวบรวมอยู่ในรายงานข้อมูลเครดิต 

เครดิตบูโร มีหน้าที่จัดเก็บและรวบรวมข้อมูลสินเชื่อตามที่ธนาคารส่งให้เท่านั้น ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการอนุมัติสินเชื่อ บริษัทจำเป็นต้องมี ‘เครดิตที่ดี’ เพื่อในอนาคตข้างหน้าจะเป็นใบเบิกทางให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่ายขึ้น และประโยชน์ด้านอื่นอีก เช่น 

การได้ตรวจเช็คสุขภาพทางการเงิน เพื่อเตรียมพร้อมวางแผนก่อนไปขอกู้
การได้รับโอกาสลดดอกเบี้ยเงินกู้เนื่องจากมีประวัติการชำระหนี้ดี

ปัจจุบันสามารถเช็คข้อมูลเครดิตออนไลน์ง่ายๆ ที่ Mobile Application Bureau OK (บูโรโอเค) หรือของธนาคารพาณิชย์

3. ตรวจตลาดสินเชื่อ

วันนี้ถ้าคุณค้นหา google คำว่า สินเชื่อ คุณจะเห็นผลการค้นหาที่เยอะจนคุณอาจหลงดีใจว่า จำนวนของแหล่งเงินทุนมีเยอะมาก แต่คุณควรศึกษารายละเอียดของสินเชื่อให้ดี เพราะแต่ละผลิตภัณฑ์อาจมีรายละเอียดที่ต่างกัน อาทิเช่น อัตราดอกเบี้ย, ระยะเวลาผ่อนชำระ เป็นต้น 
 

ธนาคาร

ธนาคารA

ธนาคารB

ธนาคารC

ธนาคารD

ธนาคารE

หลักประกัน

มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน

มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน

มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน

มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน

มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน

วงเงินสูงสุด (บาท)

10,000,000

12,000,000 

3,000,000

1,000,000

5,000,000

เหมาะสำหรับ

เริ่มต้นกิจการ

เพื่อลงทุนในกิจการหรือสินทรัพย์ถาวร

ธุรกิจขนาดเล็ก

ผู้ต้องการเช่าซื้อเครื่องจักร

ขยายกิจการ

เงื่อนไขการประกอบธุรกิจ

ดำเนินกิจการไม่ต่ำกว่า 6 เดือน

ดำเนินกิจการไม่ต่ำกว่า 1 ปี

ดำเนินกิจการไม่ต่ำกว่า 1 ปี

เงื่อนไขตามที่ธนาคารกำหนด

ดำเนินกิจการไม่ต่ำกว่า 3 ปี

ประเภทวงเงินกู้

เงินกู้ระยะสั้น / เงินกู้ระยะยาว

เงินกู้ระยะสั้น / เงินกู้ระยะยาว

เงินกู้ระยะยาว

เงินกู้ระยะสั้น / เงินกู้ระยะยาว

เงินกู้ระยะสั้น / เงินกู้ระยะยาว

อัตราดอกเบี้ย

2% - 4% ต่อปี

4% - 5% ต่อปี

2% - 7% ต่อปี

7.90 - 16.55%

5.5% ต่อปี

ระยะเวลาการผ่อนชำระ

10 ปี

10 ปี

7 ปี

1 - 5 ปี

10 ปี

 

4. เลือกสินเชื่อที่เหมาะกับคุณ

จุดเริ่มต้นที่ดีคือธนาคารที่บริษัทคุณมีบัญชีเงินฝาก หากพบว่าไม่สามารถเข้าถึงสินเชื่อธนาคารที่มีได้ ลองสำรวจแหล่งเงินทุนอื่น อาทิเช่น คราวด์ฟันดิง แพลตฟอร์ม (Crowdfunding Platform) หรือ บริษัทผู้รับซื้อลูกหนี้ โดยพิจารณาเงื่อนไขที่เหมาะสมกับบริษัทของเรา การยื่นขอเงินทุนจากหลายๆ แห่งพร้อมกันจะช่วยให้คุณไม่เสียเวลาในการรอ หากไม่ได้รับการอนุมัติ อ่านต่อ: ทำความรู้จัก 5 แหล่งเงินทุนเพื่อธุรกิจ SME

5. ก่อนเซ็นสัญญา 

อ่านรายละเอียดให้ถี่ถ้วนก่อนเซ็นเอกสาร ทำความเข้าใจเกี่ยวกับภาระการผ่อนชำระรวมถึงการคำนวณดอกเบี้ยและเงื่อนไขหากผิดนัดชำระ 

หวังว่าทั้ง 5 ขั้นตอนนี้จะช่วยให้ผู้ประกอบการ SME สามารถใช้ในการเตรียมตัวก่อนขอสินเชื่อได้ หากคุณเตรียมตัวดี การขอสินเชื่อก็คงจะผ่านได้ไม่ยาก แต่ถ้าบริษัทคุณมีข้อจำกัดด้านอื่น อาทิเช่น หลักทรัพย์ค้ำประกัน หรือจำนวนปีจดทะเบียนบริษัท ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงสินเชื่อจากธนาคารได้ ลองพิจารณาแหล่งเงินทุนอื่น เช่น คราวด์ฟันดิง แพลตฟอร์ม (Crowdfunding Platform) อ่านต่อ : ทำความรู้จัก คราวด์ฟันดิง การลงทุนที่ช่วยธุรกิจรายย่อย และสร้างผลตอบแทนให้นักลงทุน

อย่าลืม! SME สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน Funding Portal ของอินเวสทรี ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ง่ายๆ ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม ที่นี่



5 ขั้นตอนง่ายๆ ในการเตรียมตัวขอสินเชื่อ

แหล่งเงินทุนที่บริษัทมักนึกถึงเมื่อต้องการเงินทุน ไม่ว่าจะเอาไปใช้เพื่อขยายธุรกิจ หรือใช้ในยามฉุกเฉิน น่าจะหนี้ไม่พ้นธนาคารพาณิชย์ การเตรียมตัวล่วงหน้าจะทำให้เรามีความพร้อมเมื่อถึงเวลาที่เราต้องใช้เงินก้อนนั้น บทความนี้จะแนะนำขั้นตอนเตรียมตัวเพื่อเป็นฐานที่ดีที่จะช่วยให้ขั้นตอนการสมัครรวดเร็ว และง่ายขึ้น

1. จัดทำงบการเงิน

ธนาคารจะใช้งบการเงินในการพิจารณา อนุมัติสินเชื่อ ดังนั้นบริษัทจำเป็นจะต้องจัดเตรียมงบการเงินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ข้อมูลเหล่านี้บ่งบอกถึงความสามารถในการบริหาร และแนวโน้มการเติบโตของธุรกิจ งบการเงินหลักคือ งบดุล, งบกำไรขาดทุน, งบกระแสเงินสด อ่านต่อ : ทำความรู้จัก งบกระแสเงินสด ตัวชี้วัดสำคัญสุขภาพธุรกิจ 

2. ดูแลเครดิตของบริษัท

ข้อมูลเครดิต (Credit information) คือ ข้อมูลและประวัติพฤติกรรมการผ่อนชำระสินเชื่อ (Credit history) ที่ถูกเก็บบันทึกโดย บริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด หรือ ที่เราเรียกกันสั้นๆ ว่าเครดิตบูโร หรือ NCB (National Credit Bureau) 

หากบริษัทมีประวัติการชำระหนี้ไม่ตรงเวลา ไม่เต็มจำนวน จนก่อให้เกิดยอดค้างชำระ หรือมีการปล่อยยอดคงค้างไว้เป็นเวลานาน บริษัทควรเจรจาทำการบริหารการชำระหนี้ที่ค้างอยู่ให้เสร็จสิ้นเพื่อสร้างประวัติเครดิตใหม่ และชำระหนี้ให้ตรงต่อเวลา ไม่ผิดนัดชำระหนี้อีก เพราะทุกความเคลื่อนไหวในการชำระหนี้จะถูกจัดเก็บรวบรวมอยู่ในรายงานข้อมูลเครดิต 

เครดิตบูโร มีหน้าที่จัดเก็บและรวบรวมข้อมูลสินเชื่อตามที่ธนาคารส่งให้เท่านั้น ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการอนุมัติสินเชื่อ บริษัทจำเป็นต้องมี ‘เครดิตที่ดี’ เพื่อในอนาคตข้างหน้าจะเป็นใบเบิกทางให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่ายขึ้น และประโยชน์ด้านอื่นอีก เช่น 

การได้ตรวจเช็คสุขภาพทางการเงิน เพื่อเตรียมพร้อมวางแผนก่อนไปขอกู้
การได้รับโอกาสลดดอกเบี้ยเงินกู้เนื่องจากมีประวัติการชำระหนี้ดี

ปัจจุบันสามารถเช็คข้อมูลเครดิตออนไลน์ง่ายๆ ที่ Mobile Application Bureau OK (บูโรโอเค) หรือของธนาคารพาณิชย์

3. ตรวจตลาดสินเชื่อ

วันนี้ถ้าคุณค้นหา google คำว่า สินเชื่อ คุณจะเห็นผลการค้นหาที่เยอะจนคุณอาจหลงดีใจว่า จำนวนของแหล่งเงินทุนมีเยอะมาก แต่คุณควรศึกษารายละเอียดของสินเชื่อให้ดี เพราะแต่ละผลิตภัณฑ์อาจมีรายละเอียดที่ต่างกัน อาทิเช่น อัตราดอกเบี้ย, ระยะเวลาผ่อนชำระ เป็นต้น 
 

ธนาคาร

ธนาคารA

ธนาคารB

ธนาคารC

ธนาคารD

ธนาคารE

หลักประกัน

มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน

มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน

มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน

มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน

มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน

วงเงินสูงสุด (บาท)

10,000,000

12,000,000 

3,000,000

1,000,000

5,000,000

เหมาะสำหรับ

เริ่มต้นกิจการ

เพื่อลงทุนในกิจการหรือสินทรัพย์ถาวร

ธุรกิจขนาดเล็ก

ผู้ต้องการเช่าซื้อเครื่องจักร

ขยายกิจการ

เงื่อนไขการประกอบธุรกิจ

ดำเนินกิจการไม่ต่ำกว่า 6 เดือน

ดำเนินกิจการไม่ต่ำกว่า 1 ปี

ดำเนินกิจการไม่ต่ำกว่า 1 ปี

เงื่อนไขตามที่ธนาคารกำหนด

ดำเนินกิจการไม่ต่ำกว่า 3 ปี

ประเภทวงเงินกู้

เงินกู้ระยะสั้น / เงินกู้ระยะยาว

เงินกู้ระยะสั้น / เงินกู้ระยะยาว

เงินกู้ระยะยาว

เงินกู้ระยะสั้น / เงินกู้ระยะยาว

เงินกู้ระยะสั้น / เงินกู้ระยะยาว

อัตราดอกเบี้ย

2% - 4% ต่อปี

4% - 5% ต่อปี

2% - 7% ต่อปี

7.90 - 16.55%

5.5% ต่อปี

ระยะเวลาการผ่อนชำระ

10 ปี

10 ปี

7 ปี

1 - 5 ปี

10 ปี

 

4. เลือกสินเชื่อที่เหมาะกับคุณ

จุดเริ่มต้นที่ดีคือธนาคารที่บริษัทคุณมีบัญชีเงินฝาก หากพบว่าไม่สามารถเข้าถึงสินเชื่อธนาคารที่มีได้ ลองสำรวจแหล่งเงินทุนอื่น อาทิเช่น คราวด์ฟันดิง แพลตฟอร์ม (Crowdfunding Platform) หรือ บริษัทผู้รับซื้อลูกหนี้ โดยพิจารณาเงื่อนไขที่เหมาะสมกับบริษัทของเรา การยื่นขอเงินทุนจากหลายๆ แห่งพร้อมกันจะช่วยให้คุณไม่เสียเวลาในการรอ หากไม่ได้รับการอนุมัติ อ่านต่อ: ทำความรู้จัก 5 แหล่งเงินทุนเพื่อธุรกิจ SME

5. ก่อนเซ็นสัญญา 

อ่านรายละเอียดให้ถี่ถ้วนก่อนเซ็นเอกสาร ทำความเข้าใจเกี่ยวกับภาระการผ่อนชำระรวมถึงการคำนวณดอกเบี้ยและเงื่อนไขหากผิดนัดชำระ 

หวังว่าทั้ง 5 ขั้นตอนนี้จะช่วยให้ผู้ประกอบการ SME สามารถใช้ในการเตรียมตัวก่อนขอสินเชื่อได้ หากคุณเตรียมตัวดี การขอสินเชื่อก็คงจะผ่านได้ไม่ยาก แต่ถ้าบริษัทคุณมีข้อจำกัดด้านอื่น อาทิเช่น หลักทรัพย์ค้ำประกัน หรือจำนวนปีจดทะเบียนบริษัท ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงสินเชื่อจากธนาคารได้ ลองพิจารณาแหล่งเงินทุนอื่น เช่น คราวด์ฟันดิง แพลตฟอร์ม (Crowdfunding Platform) อ่านต่อ : ทำความรู้จัก คราวด์ฟันดิง การลงทุนที่ช่วยธุรกิจรายย่อย และสร้างผลตอบแทนให้นักลงทุน

อย่าลืม! SME สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน Funding Portal ของอินเวสทรี ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ง่ายๆ ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม ที่นี่

การตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

เมื่อท่านเข้าชมเว็บไซต์ใดก็ตาม เว็บไซต์นั้นอาจจัดเก็บหรือดึงข้อมูลจากเบราว์เซอร์ของท่านซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของ cookie ข้อมูลเหล่านี้อาจเกี่ยวกับท่าน การตั้งค่าของท่าน อุปกรณ์ของท่าน หรือเพื่อช่วยให้เว็บไซต์ทำงานอย่างที่ท่านต้องการ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนของท่านได้โดยตรง แต่ช่วยให้ท่านใช้งานเว็บตามความต้องการส่วนบุคคลได้มากยิ่งขึ้น โดยที่เราเคารพสิทธิความเป็นส่วนตัวของท่าน ท่านสามารถปิดการทำงานของ cookie บางประเภทได้ โปรดคลิกที่หัวข้อประเภทอื่นๆ เพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติมและเปลี่ยนการตั้งค่าเริ่มต้นในการใช้งาน cookie อย่างไรก็ตาม ท่านควรทราบว่าการปิดการทำงานของ cookie บางประเภทอาจส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์และบริการของเรา

ยอมรับทั้งหมด

จัดการการกำหนดลักษณะความยินยอม

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ เช่น การรักษาความปลอดภัย คุณสามารถปิดการใช้งานคุกกี้เหล่านี้ได้ด้วยการตั้งค่าในเว็บเบราว์เซอร์ แต่การตั้งค่าดังกล่าวอาจส่งผลต่อการทำงานของเว็บไซต์
รายละเอียดคุกกี้

คุกกี้ในส่วนการตลาด

คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์ เพื่อการนำเสนอบริการที่เกี่ยวข้องและตรงกับความสนใจของผู้ใช้บริการแต่ละราย สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทำงานคุกกี้ชนิดนี้ สามารถดูได้ที่นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ยืนยันตัวเลือกของฉัน
Cookie Domain Description
XSRF-TOKEN www.investree.co.th คุกกี้นี้ตั้งค่าโดย Wix และใช้เพื่อความปลอดภัย
laravel_session www.investree.co.th laravel ใช้ laravel_session เพื่อระบุอินสแตนซ์ของเซสชันสำหรับผู้ใช้ ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้
_gat .investree.co.th คุกกี้เก็บข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน ได้รับการติดตั้งโดย Google Universal Analytics เพื่อจำกัดอัตราคำขอและจำกัดการรวบรวมข้อมูลบนไซต์ที่มีการเข้าชมสูง
_ga .investree.co.th คุกกี้เก็บข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน ซึ่งติดตั้งโดย Google Analytics จะคำนวณข้อมูลผู้เข้าชม เซสชัน และแคมเปญ และยังติดตามการใช้งานไซต์สำหรับรายงานการวิเคราะห์ของไซต์ คุกกี้เก็บข้อมูลโดยไม่ระบุตัวตนและกำหนดหมายเลขที่สร้างขึ้นแบบสุ่มเพื่อระบุผู้เยี่ยมชมที่ไม่ซ้ำ
_gid .investree.co.th คุกกี้เก็บข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน ติดตั้งโดย Google Analytics คุกกี้ _gid จะเก็บข้อมูลว่าผู้เยี่ยมชมใช้งานเว็บไซต์อย่างไร ในขณะเดียวกันก็สร้างรายงานการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเว็บไซต์ด้วย ข้อมูลบางส่วนที่เก็บรวบรวม ได้แก่ จำนวนผู้เข้าชม แหล่งที่มา และหน้าที่เข้าชมโดยไม่ระบุตัวตน

 

ลงทะเบียน | นักลงทุน 



คุณมีบัญชีอยู่แล้ว เข้าสู่ระบบ

Syariah financing funding Register




คุณมีบัญชีอยู่แล้ว Login

Personal Loan Register




คุณมีบัญชีอยู่แล้ว Login

Business Loan Register



คุณมีบัญชีอยู่แล้ว Login

Syariah Business Financing Register



คุณมีบัญชีอยู่แล้ว Login

Referrer Register




คุณมีบัญชีอยู่แล้ว Login

Issuer Registration



คุณมีบัญชีอยู่แล้ว เข้าสู่ระบบ

Pendaftaran Reseller Financing



Sudah punya akun? Login

ลืมรหัสผ่าน

Loan Solutions

Choose what suits your needs


Personal loan for daily needs

Borrow Up to:
บาท 50.000.000
  • Home Improvement
  • Educational loans
  • Vacation Loan
  • Wedding Loans
  • Medical Fees
  • Umroh's Journey
Make Your Dreams Come True

Business Loans as an Invoice Financing solution

Borrow Up to:
บาท 2.000.000.000
  • Interest ranging from 14%
  • Full funding within 72 hours
  • Transparent
Make Your Dreams Come True